วันพฤหัสบดีที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2552

3 Fast Food เพิ่มพลังสมองยามเช้า


อาหารเช้าสำคัญต่อสมองมากกว่ามื้อไหนๆ
ทีมนักโภชนาการชาวออสเตรเลีย ซึ่งศึกษาวัยรุ่น 800 คน พบว่า การได้รับประทานอาหารมื้อเช้า ที่มีสารอาหารบางประเภทช่วยในเรื่องการทำงานของสมอง โดยพบว่าทำคะแนนในห้องเรียนได้ดีขึ้น และมีสุขภาพจิตดีขึ้นด้วย เห็นแล้วอดไม่ได้ที่จะนำมาบอกต่อ เพราะนอกจากจะดีต่อสุขภาพสมองแล้ว วิธีทำก็แสนง่ายแบบที่ไม่ต้องกวนคุณแม่ และไม่เสียเวลาเตรียมมากนัก มาลองทำกันเลย
สูตรที่ 1 ซีเรียลจากธัญพืชที่ไม่ขัดสี เติมนมเปรี้ยวแบบไม่มีไขมันหรือไขมันต่ำ จากนั้นเติมกล้วยหอมหั่นเป็นชิ้นลงไป คลุกเคล้าให้เข้ากัน
สูตรที่ 2 โยเกิร์ตแบบไม่มีไขมันหรือไขมันต่ำ ใส่ข้าวโอ๊ตบดหยาบและผลไม้ต่างๆ ตามชอบ เช่น กีวี แอปเปิ้ล สตรอว์เบอรี่ (ไม่ควรเป็นผลไม้ที่มีรสหวาน) คลุกเคล้าให้เข้ากัน
สูตรที่ 3 แซนด์วิชทูน่า ใช้ขนมปังไม่ขัดขาว เนื้อปลาทูน่า และที่ขาดไม่ได้คือมะเขือเทศสีแดงสด
ส่วนผสมหลักๆ บอกไปแล้วนะคะ ส่วนใครจะมีเคล็ดลับอะไร ก็สามารถเพิ่มเติมได้ตามใจชอบ อร่อยกันแล้ว อย่าลืมเพิ่มพลังสมองอีกทางด้วยการออกกำลังกายนะคะ

วันพุธที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2552

ล้มเเล้วลุกขึ้นใหม่



จับมือจูงมือมั่น

ไว้ทุกข์ใดกล้ำกรายไม่หวั่น

อุปสรรคหลากหลายกดดัน

ฝ่าฟันทุกข์ภัยร่วมกัน

หัวใจไม่กลัวทุกข์ยาก
ลำบากเพียงใดไม่หวั่น
ลุกขึ้นอีกครั้งสู้มัน
ประจัญประกาศกล้าทั่วฟ้าดิน
แม้ล้มร้อยครั้งยังสู้ไหว
หัวใจแข็งแกร่งดั่งหิน
ลมฝนกระหน่ำจนชาชิน
เช็ดน้ำตาหลั่งรินสู้อีกครา
อุปสรรคไม่นานผ่านพ้น
มีใจอดทนแกร่งกล้า
ไม่นานฟ้าใสอีกครา
ทุกข์มวลจากลาห่างไกล
หลังฝนฟ้าย่อมสดสวยเ
พราะด้วยอดทนพ้นได้
ฟ้าใหม่จะงามเพียงใด
ด้วยใจมุ่งมั่นฝ่าฟัน

วันศุกร์ที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2552

ความเหงาทำให้เป็นมะเร็งง่ายขึ้น และร้ายแรงขึ้น


ผลการวิจัยใหม่ในสหรัฐเพิ่มน้ำหนักต่อข้อสันนิษฐานที่ว่าความเหงาทำให้เสี่ยงเป็นมะเร็งมากขึ้น และทำให้มะเร็งที่เป็นอยู่แล้วลุกลามมากยิ่งขึ้น
นักวิจัยจากมหาวิทยาลัยเยลร่วมกับนักวิจัยจากมหาวิทยาลัยชิคาโกศึกษากับหนูพบว่า หนูที่ถูกขังเดี่ยวเป็นมะเร็งมากกว่าหนูที่อยู่เป็นกลุ่ม และเป็นมะเร็งชนิดร้ายแรงกว่า โดยระบุว่า สาเหตุเกิดจากความเครียด และน่าจะเกิดผลเช่นเดียวกันกับมนุษย์
วงการแพทย์ทราบอยู่แล้วว่าผู้ป่วยมะเร็งที่หดหู่ซึมเศร้ามักมีอัตรารอดชีวิตน้อยลง และเคยมีงานวิจัยพบว่ากำลังใจช่วยให้ผู้ป่วยมะเร็งเต้านมมีสุขภาพดีขึ้น งานวิจัยล่าสุดพบว่า ความโดดเดี่ยวและความเครียดทำให้หนูนอร์เวย์ที่ชอบอยู่เป็นกลุ่มเสี่ยงเป็นมะเร็งเต้านมเพิ่มขึ้นถึง 3 เท่า หนูที่ถูกแยกขังมีจำนวนเนื้องอก 84 เท่าของหนูที่อยู่เป็นกลุ่มอย่างเหนียวแน่น และเป็นเนื้องอกที่เสี่ยงลุกลาม นอกจากนี้ยังมีฮอร์โมนความเครียดสูงกว่าและใช้เวลานานกว่าในการปรับตัวจากภาวะความเครียด นักวิจัยระบุว่า จะต้องนำผลการศึกษานี้ไปหาหนทางที่อาจจะลดความเสี่ยงเป็นมะเร็งลงได้
ด้านมูลนิธิวิจัยมะเร็งอังกฤษเห็นว่า ผลการศึกษานี้ได้จากหนูทดลอง แต่การศึกษากับมนุษย์โดยทั่วไปไม่พบว่าความเครียดมีความสัมพันธ์โดยตรงกับ มะเร็งเต้านม แต่ก็อาจเป็นไปได้ว่าสถานการณ์ความเครียดอาจมีผลทางอ้อมด้วยการทำให้คนใช้ชีวิตไม่เป็นประโยชน์ต่อสุขภาพ เพิ่มความเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็ง เช่น รับประทานมากเกินไป ดื่มสุราหนัก สูบบุหรี่

เทคนิค เลคเชอร์


เทคนิค เลคเชอร์

"เลคเชอร์" กับ "การเรียน" ถือเป็นของคู่กัน หากฟังอย่างเดียวแต่ไม่จด ผลคือ น้อยมากที่จะจำเนื้อหาได้หมด และอาจตกหล่นประเด็นสำคัญไป ดังนั้น การจดบันทึกจึงสำคัญ และเป็นประโยชน์เพื่อใช้ทบทวนภายหลัง สำหรับน้องใหม่ที่กำลังปรับตัวเรียนในรั้วมหาวิทยาลัย 'Edutainment Zone' มีเทคนิคจดเลคเชอร์มาบอกกัน เตรียมอุปกรณ์ให้พร้อม เช่น 'สมุด' ควรใช้ 1 เล่ม ต่อ 1 วิชา เพื่อแยกเป็นสัดส่วน ป้องกันการสับสน 'ปากกา' อาจใช้หลายสี ไว้จดแยกสาระสำคัญของประเด็นต่างๆ ไม่ควรจดทุกคำพูด แต่ควรฟังให้เข้าใจก่อน จากนั้นจับใจความสำคัญแล้วค่อยบันทึกเป็นความเข้าใจของตัวเอง มีข้อสังเกต! ว่า การจดเกือบทุกคำพูดของอาจารย์ เมื่อกลับมาทบทวน หลายคนจะไม่เข้าใจ เพราะไม่ได้ทำความเข้าใจตามไปด้วย มุ่งอยู่กับการเขียนอย่างเดียว ทำให้ไม่รู้ที่มาที่ไป ใช้คำย่อ-สัญลักษณ์เข้าช่วย ทำให้จดเร็วขึ้น อาจกำหนดตัวอักษรขึ้นเอง (แต่คนจดต้องเข้าใจด้วยว่า หมายถึงอะไร) ส่วนใหญ่นิยมใช้จากคำขึ้นต้นของคำนั้นๆ รวมทั้งอักษรย่อที่เป็นมาตรฐาน หากจดสาระสำคัญไม่ทัน ควรทำเครื่องหมายไว้ และบันทึกตามในประเด็นที่อาจารย์กำลังอธิบาย แล้วค่อยถามทีหลัง หากมัวพะวงจะทำให้จดไม่ทันทั้งหมด ถามอาจารย์เมื่อไม่เข้าใจ อย่าปล่อยให้ผ่านไป เพราะเนื้อหาส่วนใหญ่มักบูรณาการเกี่ยวเนื่องกันหมด หากไม่เข้าใจจุดหนึ่งจะทำให้งงกับส่วนอื่นตามไปด้วย และเมื่อได้คำอธิบายแล้ว อย่าลืมหมายเหตุไว้ เวลาทบทวนจะได้เน้นย้ำเป็นพิเศษ ที่สำคัญ! เลคเชอร์แล้ว ต้องกลับไปทำความเข้าใจอย่างสม่ำเสมอ เพื่อความฟิตสำหรับการสอบเทอมนี้กัน

วันอาทิตย์ที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552

10 อันดับปราสาทราชวังที่หาดูยาก

10. The Potala Palace

พระราชวังที่ยิ่งใหญ่ในธิเบต









9. Mont Saint-Michel
ที่ฝรั่งเศส ปราสาทบนเกาะเล็กๆ ในอ่าว Normandy
ใกล้กับบริททาเนีย ปราสาทแห่งนี้เป็นฉาก
ในภาพยนตร์หลายๆ เรื่อง การ์ตูน หรือแม้แต่ในเกมส์














8. Predjamski Castle
ปราสาทบนถ้ำในสโลวาเนีย ปราสาทแห่งนี้
ไม่ใหญ่นักเมื่อเทียบกับปราสาทอื่นๆ แต่มีจุดเด่น
ที่ไม่เหมือนปราสาทใดๆ คือ ตัวปราสาทได้อยู่รวมกันไปกับถ้ำ
โดยถ้ำนี้ชื่อ Predjamski Grad หมายถึง ปราสาทอยู่หน้าถ้ำ












7. Neuschwanstein Castle
ปราสาทในเยอรมันแห่งนี้เป็นที่รู้จักกันอย่างกว้างขวาง
เป็นต้นแบบของปราสาทเจ้าหญิงนิทราในดิสนีย์แลนด์












6. Matsumoto Castle
นับเป็นปราสาทที่สวยที่สุดในญี่ปุ่น











5. Hunyad Castle
ปราสาทแดร็กคูล่า ในโรมาเนีย















4. Malbork Castle
ปราสาทสไตล์โกธิคซึ่งสร้างด้วยอิฐที่ใหญ่ที่สุดในโลก
ตั้งอยู่ที่ประเทศโปแลนด์ ปราสาทแห่งนี้รวมถึงพิพิธภัณฑ์
ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกโดยยูเนสโก













3. Palacio da Pena
พระราชวังที่เก่าแก่ที่สุดในโปรตุเกส
ตั้งอยู่บนภูเขาเหนือเมือง Sintra ในวันที่อากาศสดใส
จะสามารถมองเห็นปราสาทแห่งนี้ได้จากเมืองลิสบอน
พระราชวังแห่งนี้สร้างขึ้นตั้งแต่ศตวรรษที่ 15
ภายหลังได้มีการบูรณะใหม่ และอุทิศให้เป็นโบสถ์
ใช้เป็นศาสนสถาน









2. Lowenburg Castle
ปราสาทสิงโตในเยอรมัน ปราสาทแห่งนี้
ดูเหมือนปราสาทในยุคกลาง แต่จริงๆ แล้ว
ปราสาทแห่งนี้เป็นเพียงปราสาทที่สร้างขึ้นมาเลียนแบบ
ปราสาทในยุคกลาง โดย Landgrave Wilhelm IX
สร้างขึ้นประมาณปลายศตวรรษที่ 18










1. Prague Castle

ปราสาทโบราณที่ใหญ่ที่สุดในโลก
จากการบันทึกสถิติของกินเนสบุ๊ค ปราสาทปรากแห่งนี้
มีความยาวประมาณ 570 เมตร กว้างโดยเฉลี่ย 130 เมตร
เพชรมงกุฏเชค (Czech Crown Jewels) ได้รับ
การเก็บรักษาไว้ที่นี่ ปราสาทแห่งนี้ยังเป็นสถานที่
ที่กษัตริย์แห่งเชค จักรพรรดิแห่งโรมัน
และประธานาธิบดีเชคโก สโลวาเกีย
และเชค รีพับบลิคใช้เป็นที่ทำงาน

วันอาทิตย์ที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552

10 สนามบินที่ได้ชื่อว่า "น่ากลัวที่สุดในโลก"

อันดับ 1 ก็คือ สนามบิน PARO ที่ประเทศภูฎาน
หมู่บ้าน Paro ถูกโอบล้อมด้วยยอดเขาหิมาลายันที่มีความสูง 5,000 เมตร ด้วยเหตุนี้ สนามบินในเมือง Paro จึงนับเป็นสนามบินที่มีความท้าทายในการนำเครื่องลงจอดมากที่สุดในโลก และมีนักบินเพียง 8 คนในโลกเท่านั้น ที่มีคุณสมบัติในการนำเครื่องบินลงจอดที่สนามบินแห่งนี้ (ข้อมูลจากวิกิพีเดีย)


สนามบินแห่งนี้มีรันเวย์เดียว เปิดบริการตั้งแต่พระอาทิตย์ขึ้นถึงพระอาทิตย์ตกเท่านั้น ปัจจุบัน มีเพียงสายการบิน Druk Air ซึ่งเป็นสายการบินท้องถิ่นเพียงแห่งเดียว ที่บินบริการบนสนามบินแห่งนี้

ชมคลิปเครื่องบินลงจอดที่สนามบินแห่งนี้ได้ ที่นี่



อันดับ 2 สนามบินนานาชาติ PRINCESS JULIANA ใน ST. MAARTEN, CARIBBEAN


สนามบินแห่งนี้มีรันเวย์ยาวเพียง 2,000 เมตร ถึงแม้ว่าเครื่องบินที่เหมาะสมในการนำมาลงจอดที่สนามบินแห่งนี้ คือ เครื่องบินเจ็ทขนาดกลาง แต่ก็มีเครื่องบินขนาดใหญ่จากยุโรป เช่น โบอิ้ง 747 และแอร์บัส A340 มาลงจอดที่สนามบินแห่งนี้เช่นกัน

ในการนำเครื่องบินขนาดใหญ่ลงจอด นักบินจะต้องบังคับเครื่องบินเหล่านี้ให้บินในระดับต่ำอย่างเหลือเชื่อเหนือชายหาด Maho ถึงกระนั้นก็ตาม ยังไม่เคยมีอุบัติเหตุร้ายแรงเกิดภายในสนามบินแห่งนี้แต่อย่างใด

ชมคลิปดูแล้วจะรู้ว่าเครื่องบินๆ ต่ำแค่ไหน คลิกโลด

ชมคลิปเครื่องบินกำลังจะเทคออฟ (เสียงดัง + ลงแรงมากจนนักท่องเที่ยวต้องวิ่งหนีลงทะเล) คลิก



อันดับที่ 3 สนามบิน RAEGAN NATIONAL AIRPORT ที่กรุงวอชิงตัน ดีซี สหรัฐอเมริกา


ไม่น่าเชื่อเลยว่าสนามบินในอเมริกาจะติดโผ "น่ากลัวที่สุดในโลก" ถึง 2 แห่ง โดยสนามบินเรแกนแห่งนี้ ตั้งอยู่ระหว่างพื้นที่คาบเกี่ยวของเขต "ห้ามบิน" ถึง 2 แห่งด้วยกัน นั่นก็คือ น่านฟ้าเหนือ เพนตาก้อน และสำนักงานใหญ่ของซีไอเอ ที่ห้ามไม่ให้เครื่องบินใดๆ บินผ่านโดยเด็ดขาด นักบินจึงจำเป็นต้องบินเลี่ยงพื้นที่ดังกล่าว ก่อนที่จะวกกลับมาลงจอดในสนามบิน

ส่วนการนำเครื่องบินๆ ขึ้น ก็ยุ่งยากไม่แพ้กัน เพราะนักบินจำเป็นต้องไต่ระดับขึ้นอย่างรวดเร็ว และยังต้องเบนเครื่องบินไปทางด้านซ้าย เพื่อไม่ให้เครื่องบินๆ ชนทำเนียบขาวอีกด้วย

คลิก เพื่อชมคลิป





อันดับที่ 4 สนามบิน GIBRALTAR ที่ GIBRALTAR ใน EUROPE


สนามบินแห่งนี้อยู่ระหว่างทะเลเมดิเตอร์เรเนี่ยน ซึ่งอยู่ทางด้านทิศตะวันออก และอ่าว Algeciras ที่อยู่ทางด้านทิศตะวันตก รันเวย์ของสนามบินแห่งนี้สร้างจากกรวดผสมน้ำมันดิน มีความยาวไม่ถึง 2,000 เมตร นักบินจำเป็นต้องรู้ตำแหน่งในการลงจอดที่แน่นอนและแม่นยำ และต้องมีความพร้อมที่จะเบรคทันทีที่ล้อแตะรันเวย์ เพราะไม่อย่างนั้นมีหวังได้ลงไปจอดในทะเลแน่ๆ

ากลัวอีกอย่างคือรันเวย์แห่งนี้มีถนนตัดผ่าน เวลามีเครื่องบินขึ้น-ลง ที่กั้นถนนก็จะพับลงมากั้นไม่ให้รถผ่าน (คล้ายเวลาวิ่งข้ามทางรถไฟในบ้านเรา)

ชมคลิปเครื่องบินลงจอดที่สนามบินแห่งนี้ได้ ที่นี่ ชมคลิปรถหยุดให้เครื่องบินผ่านได้ ที่นี่










อันดับที่ 5 รันเวย์จอดเครื่องบิน MATEKANE ที่ประเทศเลโซโธ


ภาพที่เห็น คือ รันเวย์ที่มีความยาวเพียง 400 เมตร และมีไว้สำหรับการบินบริการทางการแพทย์โดยเฉพาะ

การนำเครื่องขึ้นที่รันเวย์แห่งนี้นับเป็นประสบการณ์ขนหัวลุกของผู้โดยสาร เพราะเครื่องบินจะหล่นผลุบลงไปที่หน้าผาซึ่งมีความลึก 600 เมตร ก่อนที่จะเริ่มทะยานขึ้นสู่ท้องฟ้าอีกครั้ง ซึ่งนักบิน Tom Claytor เปิดเผยว่า การนำเครื่องขึ้นวิธีนี้จะปลอดภัยกว่าการบินขึ้นโดยตรงเหนือหน้าผา

ขออภัย - ไม่มีคลิปค่ะ

วันอาทิตย์ที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552

10 สนามบินที่ได้ชื่อว่า "น่ากลัว" ที่สุดในโลก

อันดับ 6. สนามบิน BARRA ประเทศสก๊อตแลนด์
สนามบินแห่งนี้ตั้งอยู่บนเกาะ Barra ซึ่งเป็นเกาะเล็กๆ ที่อยู่ในพื้นที่ห่างไกลของประเทศสกอตแลนด์ ที่นี่นับเป็นหนึ่งในสนามบินเพียง 2 แห่งในโลก ที่ใช้ "ชายหาด" เป็นรันเวย์ (อีกแห่งอยู่ที่เกาะ Fraser Island ประเทศออสเตรเลีย)

และเนื่องจากเวลาน้ำขึ้นรันเวย์ของสนามบินแห่งนี้จะหายไป ดังนั้นตารางบินของสนามบินแห่งนี้จะขึ้นอยู่กับช่วงเวลาที่น้ำขึ้นน้ำลง และถ้ามีเหตุฉุกเฉินให้ต้องนำเครื่องลงจอดในเวลากลางคืน ก็จะใช้วิธีนำรถยนต์มาจอดเรียง และเปิดไฟ เพื่อให้เกิดแสงสะท้อนบริเวณแผ่นโลหะที่ถูกเรียงไว้บริเวณชายหาด เป็นการนำทางให้นักบินสามารถนำเครื่องบินลงจอดได้อย่างปลอดภัย
อย่างไรก็ดี ชายหาดแห่งนี้ไม่ได้มีไว้ให้เครื่องบินขึ้น-ลงเท่านั้น แต่ยังเป็นสถานที่ท่องเที่ยวและเก็บหอยอันเลื่องชื่อ โดยผู้ที่เข้ามาท่องเที่ยวหรือเก็บหอยบริเวณชายหาดแห่งนี้ จะต้องคอยสังเกตสัญญาณเตือน กันเอาเอง เมื่อใดก็ตามที่ถุงลมลอยขึ้น แสดงว่าในขณะนั้นสนามบินกำลังจะเปิดให้เครื่องบินขึ้น-ลง ซึ่งผู้ที่อยู่ในบริเวณนั้นจะต้องรีบออกจากชายหาดทันที

ชมคลิปเครื่องบินลงจอดบนชายหาดได้ ที่นี่

อันดับ 7. สนามบินนานาชาติ TONCONTIN ใน TEGUCIGALPA ประเทศฮอนดูรัส

สนามบินแห่งนี้มีรันเวย์ยาวเพียง 1,863 เมตร นับเป็นหนึ่งในสนามบินนานาชาติที่มีรันเวย์สั้นที่สุดในโลก และยังมีภูเขาล้อมรอบ ในการนำเครื่องบินลงจอดนักบินจะต้องบังคับเครื่องบินให้บินเลี้ยวไปทางด้านซ้าย 45 องศา ก่อนที่เครื่องบินจะแตะพื้นรันเวย์เพียงไม่กี่นาที

สนามบินแห่งนี้เคยเกิดอุบัติเหตุร้ายแรงมาแล้ว 3 ครั้ง โดยครั้งล่าสุดเพิ่งเกิดขึ้นกับเครื่องบินแอร์บัส เอ 320 ของสายการบิน Grupo TACA ที่บินมาจาก ซาน ซัลวาดอร์ เมื่อเดือนพ.ค. ปีที่แล้ว ซึ่งเป็นความผิดพลาดระหว่างการนำเครื่องบินลงจอดของนักบิน

พิสูจน์ความน่ากลัวของสนามบินแห่งนี้ได้ ที่นี่ (ภาพจากพื้นดิน) และ ที่นี่ (ภาพจากห้องนักบิน) - ห้ามพลาดทั้ง 2 คลิป





อันดับ 8. สนามบินนานาชาติ JOHN F. KENNEDY ที่เมืองนิวยอร์ค สหรัฐอเมริกา



สนามบินแห่งนี้ติดโผด้านความน่ากลัวตรงที่ นักบินจะต้องคอยระมัดระวังเครื่องบินลำอื่นๆ ที่กำลังบินขึ้น-ลงยังสนามบิน LaGuardia และ สนามบิน Newark ที่อยู่ใกล้ๆ กันระหว่างนำเครื่องลงจอด ในขณะที่ปลายด้านหนึ่งของรันเวย์สิ้นสุดลงที่ผืนน้ำของ Jamaica Bay

ชมภาพการลงจอดของเครื่องบินโบอิ้ง 747 ที่สนามบินแห่งนี้ได้
ที่นี่





อันดับ 9. สนามบินนานาชาติ MADEIRA (FUNCHAL) บนเกาะ MADEIRA ประเทศโปรตุเกส
ช่วงแรกๆ ที่เปิดบริการ สนามบินแห่งนี้มีรันเวย์ยาวเพียง 1,600 เมตร แถมยังโอบล้อมด้วยภูเขาสูง และท้องทะเล ทำให้การลงจอดเป็นไปได้ยาก มีเพียงนักบินที่มีประสบการณ์สูงเท่านั้นที่จะสามารถนำเครื่องบินลงจอดที่สนามบินแห่งนี้ได้

แต่หลังเกิดอุบัติเหตุร้ายแรงกับสายการบิน TAP Air Portugal เที่ยวบิน 425 เมื่อปี ค.ศ. 1977 หลังจากนักบินพยายามนำเครื่องลงจอด 2 ครั้งแต่ไม่สำเร็จ จนกระทั่งเกิดอุบัติเหตุในความพยายามลงจอดครั้งที่ 3 เนื่องจากรันเวย์สั้นเกินไป (สำหรับเครื่องบิน Boeing 727-200) ประกอบกับมีฝนตกหนัก และลมกระโชกแรงทำให้ทัศนวิสัยไม่ดี เครื่องบินจึงไถลออกนอกรันเวย์ และชนเข้ากับสะพานจนขาด 2 ท่อนทำให้เกิดไฟลุกท่วม เป็นเหตุให้ผู้โดยสารกว่า 100 คนเสียชีวิต

สนามบินแห่งนี้จึงได้ทุ่มงบประมาณในการขยายรันเวย์ให้มีความยาวมากขึ้นเป็นสองเท่า โดยทำส่วนต่อขยายให้ยื่นออกไปในทะเล โดยมีเสา 180 ต้นรองรับน้ำหนัก จนกระทั่งได้รับรางวัล "Outstanding Structures Award" จาก International Association for Bridge and Structural Engineering (IABSE) ซึ่งเปรียบเหมือนรางวัล "ออสการ์" ของวงการวิศวกรรมที่โปรตุเกส ในเวลาต่อมา

อย่างไรก็ดี นักบินที่จะนำเครื่องบินลงจอดบนสนามบินแห่งนี้ จำเป็นต้องได้รับการเทรนนิ่งเป็นพิเศษ เพราะการลงจอดที่สนามบินแห่งนี้ นักบินจะต้องหันหัวเครื่องบินไปที่ภูเขา และเอียงเครื่องบินไปทางด้านขวาในนาทีสุดท้าย เพื่อจะตั้งลำให้อยู่ในแนวเดียวกับรันเวย์ที่จะปรากฏให้เห็นตรงหน้าชนิดที่เรียกว่า แทบไม่ทันตั้งตัวเลยทีเดียว

ชมการลงจอดของเครื่องบินแอร์บัส เอ 320 ที่สนามบินแห่งนี้ได้ ที่นี่


อันดับ 10 สนามบิน JUANCHO E. YRAUSQUIN บนเกาะ SABA ใน NETHERLANDS ANTILLES


ถึงแม้ว่าจะยังไม่เคยเกิดโศกนาฎกรรมร้ายแรงที่สนามบินบนเกาะเล็กๆ แห่งนี้ แต่บรรดาผู้เชี่ยวชาญด้านการบินต่างเห็นพ้องต้องกันว่า ที่นี่แหล่ะคือ "หนึ่งในสนามบินที่อันตรายที่สุดในโลก"

เพราะนักบินจะต้องรับมือกับลมกรรโชกในขณะเตรียมแลนดิ้งลงบนรันเวย์ ที่มีความยาวเพียง 400 เมตรเท่านั้น อีกจุดที่ถือว่าอันตรายสุดๆ คือ "ตำแหน่ง" ของรันเวย์ที่ด้านหนึ่งเป็นภูเขาสูง ส่วนอีกด้านเป็นหน้าผา (ปลายสุดของรันเวย์ทั้ง 2 ข้าง เป็นหน้าผา) ซึ่งถ้ามีอะไรผิดพลาดไม่ว่าจะเป็นตอนขึ้นหรือตอนลงก็จะตกลงไปในทะเลทันที








ปัจจุบันนี้ มีเพียงสายการบิน Windward Islands Airways ซึ่งเป็นสายการบินท้องถิ่นเพียงแห่งเดียวเท่านั้น ที่เปิดบินบริการวันละ 1 เที่ยวบนสนามบินแห่งนี้

พิสูจน์ความน่ากลัวของสนามบินแห่งนี้ได้ ที่นี่ (หวาดเสียวจริงๆ ขอบอก)































วันพุธที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2552

Aéroport Paris-Orly


L'aéroport de Paris-Orly (code AITA : ORY, code OACI : LFPO), couramment abrégé en « aéroport d'Orly » est un aéroport francilien situé à quatorze kilomètres au sud de Paris, près de la commune d'Orly. Il est essentiellement utilisé pour les vols nationaux, européens, et les vols à destination du Maghreb, du Moyen-Orient, des DOM-TOM français et du Québec (Canada) : Montréal et la ville de Québec.
L’aéroport de Paris-Orly est la deuxième plate-forme aéroportuaire de France après l'aéroport Paris-Charles-de-Gaulle, et le dixième aéroport européen, avec 229 335 mouvements par an en 2006. Il est divisé en deux aérogares principales : l'aérogare Sud et l'aérogare Ouest (quatre halls) et dispose de trois pistes. L'aéroport compte aussi une aérogare de fret et une zone d'entretien. Il est géré par la société Aéroports de Paris (ADP).
Son implantation au milieu d'une urbanisation extrêmement forte (2 500 habitants au km²) et les nuisances qu'il génère ne permettent pas son développement.

วันจันทร์ที่ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2552

10 อันดับชายหาด ยอดแย่! ไม่น่าเที่ยวที่สุดในโลก

สายลม แสงแดด และเสียงคลื่นกระทบหาด บนพื้นทรายสีขาวที่ตัดกับน้ำทะเลสีฟ้าที่ชวนให้น่าเดินเล่นพักผ่อน แหม่...บรรยากาศดีๆ แบบนี้ คงทำให้เรามีความสุขไม่ใช้น้อยแต่คงไม่ใช้ 10 ชายหาดเหล่านี้แน่นอน เพราะถึงขนาดถูกขนานนามว่าเป็น"ชายหาดยอดแย่ ที่ไม่น่าเที่ยว ที่สุดในโลก"
แต่จะแย่ขนาดไหนนั้น และเป็นที่แห่งใดบ้าง {จะมีบ้านเราด้วยไหมนะ?} ต้องมาดูกันกับ 10 ชายหาด ยอดแย่! ไม่น่าเที่ยวที่สุดในโลก
อันดับ 10. หาด "Blackpool" ประเทศอังกฤษ
ชายหาด Blackpool ถึงแม้ว่าหาดแห่งนี้จะมีรีสอร์ทริมทะเลชื่อดังอยู่หลายแห่ง แต่ก็ยังคงมีเหตุการณ์รุนแรงเกิดขึ้นอยู่บ่อยครั้ง เนื่องจากบริเวณโดยรอบชายหาด Blackpool เป็นศูนย์รวมบาร์เครื่องดื่มราคาถูก ที่มีอยู่มากถึง 130 แห่ง ทำให้มักมีบรรดาวัยรุ่นขี้เมา มาขว้างปาขวดแก้ว หรือคอยกลั่นแกล้งข่มขู่เด็กๆ และผู้หญิง ทั้งยังมีเหตุทะเลาะวิวาท ชกต่อยบ่อยๆ
อันดับ 9. หาด "Odaiba" ที่กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น
ชายหาด Odaiba เป็นอีกหนึ่งสถานที่ท่องเที่ยวที่มีมลพิษ และสารปนเปื้อนในน้ำเกินมาตรฐานความปลอดภัย เป็นเหตุให้ทางการต้องนำป้ายมาปักเตือนนักท่องเที่ยวว่าห้าม ลงเล่น หรือแม้แต่เดินลุยน้ำโดยเด็ดขาด และถ้าจะให้ดีควรสวมหน้ากากอนามัยขณะ มาเดินเล่นริมชายหาดแห่งนี้ด้วย {น่ากลัวจัง...แล้วชาดหาดแถวระยองบ้านเรา จะเป็นแบบนี้หรือเปล่านะ!}
อันดับ 8. หาด "Doheny" ที่มลรัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา
ชายหาด Doheny ไม่น่าเชื่อว่าที่นี่จะได้รับการขนานนามว่าเป็นชายหาดที่มีมลพิษมากที่สุดในสหรัฐอเมริกาเป็นเวลา 3 ปีติดต่อกัน จนต้องนำป้ายมาปักเตือนนักท่องเที่ยวว่าห้ามลงเล่นน้ำ เพราะจะเป็นอันตรายต่อสุขภาพ และไม่เพียงชายหาดแห่งนี้เท่านั้น แต่ที่แคลิฟอร์เนียยังมีชายหาดอีกหลายแห่งที่มีค่ามลพิษเกินมาตรฐานความ ปลอดภัยอีกด้วย
อันดับ 7. หาด "Repulse" ที่ฮ่องกง
ชายหาด หรืออ่าว Repulse ถูกขนานนามว่าเป็นอ่าวที่สุดแสนโสโครก เต็มไปด้วยมลพิษจากสิ่งก่อสร้างของโครงการต่างๆ นับไม่ถ้วน ตั้งแต่ต้นศตวรรษที่ 20 เป็นต้นมา เป็นเหตุให้เกิดการแพร่กระจายของสาหร่าย "red tide" ซึ่งเป็นสาหร่ายเซลล์เดียวที่มีพิษ ทำลายระบบนิเวศน์ และมีกลิ่นเหม็น ทั้งยังทำให้เกิดปรากฏการณ์น้ำทะเลเปลี่ยนสีอีกด้วย
อันดับ 6. หาด "Port Phillip Bay" ในเมืองเมลเบิร์น ประเทศออสเตรเลีย
ชายหาด Port Phillip Bay ไม่เพียงแค่สกปรกอย่างเดียว แต่ยังเต็มไปด้วยเศษแก้ว และเข็มฉีดยาของบรรดาวัยรุ่นขี้ยาที่ทิ้งไว้ให้ดูต่างหน้า และเมื่อปีที่แล้วทางการได้ส่งเจ้าหน้าที่ ลงพิ้นที่บูรณะทำความสะอาดครั้งใหญ่กับชายหาดแห่งนี้ และพบว่าบริเวณริมหาดนั้นมีขยะมากมายเป็นจำนวนมากถึง 1 พันตันทีเดียวเชียวละค่ะ
อันดับ 5. หาด "Haina" ที่สาธารณรัฐโดมินิกัน
ชายหาด Haina ถ้าเพื่อนๆ ลงไปดูภาพทางด้านล่างแล้ว คงไม่สงสัยว่าทำไมสถานที่แห่งนี้ถึงได้อันดับ 5 แห่งชายหาดยอดแย่! เพราะพื้นที่ในแถบนี้ได้ชื่อว่าเป็นแหล่งที่พักพิงให้ทิ้งขยะ และของเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมที่สกปรกที่สุดในโลก
อันดับ 4. หาด "SEMINYAK" บนเกาะบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย
ชายหาด Seminyak จากผลวิจัยของนักนิเวศน์วิทยากล่าวว่า ปัจจุบัน "บาหลี" กำลังประสบปัญหาทางด้านสิ่งแวดล้อมอย่างหนัก โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหามลพิษทางน้ำ ของเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม และสิ่งปฏิกูลที่มีอยู่เป็นจำนวนมาก
อันดับ 3. ชายหาด "Marunda" ในเมืองจาการ์ต้า ประเทศอินโดนีเซีย
พระเจ้า...! แทบไม่น่าเชื่อสายตาหากได้เห็นภาพด้านล่าง กับการเพลิดเพลินของเด็กๆ ที่กำลังเก็บเศษขยะพลาสติกในน้ำคลำ ที่ไม่น่าเชื่อว่าจะเป็นน้ำทะเลของชายหาด Marunda แต่รู้หรือไม่ว่า...? ถึงแม้น้ำทะเลของชายหาดแห่งนี้จะสกปรกม๊ากมาก... แต่มันก็ถือได้ว่าเป็นหนึ่งในสถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมแห่งหนึ่งในประเทศอินโดนีเซีย
อันดับ 2. ชายหาด "Goa" ประเทศอินเดีย
ชายหาด Goa ท่ามกลางชายหาดแห่งนี้ นอกจากคนที่มานอนอาบแดดแล้ว ยังคงมีสัตว์อีกหนึ่งชนิดที่ก็ชอบอาบแดดเหมือนกัน นั่นก็คือ ฝูงวัวศักดิ์สิทธิ์ ที่คนท้องถิ่นเลี้ยงไว้ และปล่อยให้มันเดินเล่นริมชายหาดตามสบาย เอ๊ะ... มันจะเหมือนกับ 'ม้า' ตามชายหาดบ้านเราหรือเปล่านะ
อันดับ 1. ชายหาด "Chowpatty" ที่เมืองมุมไบ ประเทศอินเดีย
ชายหาด Chowpatty สมคำล่ำลือจริงๆ ในเรื่องขึ้นชื่อแห่งความสกปรก เต็มไปด้วยขยะ และมลพิษ แถมยังขาดการดูแลเอาใจใส่อีกด้วย ก็เรียกได้ว่ากลายเป็นอันดับ 1 ของชาดหาดยอดแย่! ไม่น่าเที่ยวที่สุดในโลกไปเลย
เป็นไงกันบ้างค่ะเพื่อนๆ เห็นกันไปแล้วกับ 10 อันดับชายหาด ยอดแย่! ไม่น่าเที่ยวที่สุดในโลกซึ่งไม่ก็ไม่น่าจะไปเที่ยวจริงๆ และเราหวังว่า หากเพื่อนๆ ไปเที่ยวทะเลคราวหน้าคงไม่ทิ้งขยะ หรือเศษแก้วกันริมหาดของทะเลบ้านเรานะค่ะ เพื่อชายหาดบ้านเราจะได้ไม่กลายไปติดหนึ่งใน 10 ของอันดับชายหาดยอดแย่กับเขา จนไม่มีใครกล้าไปเที่ยว!!! T___T

La Rochelle



La Rochelle est une commune française, capitale historique de l'Aunis et préfecture du département de la Charente-Maritime, dans la région Poitou-Charentes.
Ses habitants sont appelés les Rochelais[1].
Située en bordure de l’océan Atlantique, au large du pertuis d'Antioche, et protégée des tempêtes par la "barrière" des îles de , d’Oléron et d’Aix, la ville est avant tout un complexe portuaire de premier ordre et, ce, depuis le XIIe siècle. Elle conserve plus que jamais son titre de Porte océane par la présence de ses trois ports (de pêche, de commerce et de plaisance).
Cité millénaire, dotée d’un riche patrimoine historique et urbain, La Rochelle est aujourd’hui devenue la plus importante ville entre Loire et Gironde. Ses activités urbaines sont multiples et fort différenciées. Ville aux fonctions portuaires et industrielles encore importantes, elle possède un secteur administratif et tertiaire largement prédominant que viennent renforcer son Université et le tourisme.

วันจันทร์ที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2552

10 สถานที่ท่องเที่ยว ที่มีคดีล้วงกระเป๋าชุกชุมที่สุด


เผย 10 รายชื่อสถานที่ท่องเที่ยวทั่วโลก ซึ่งมีคดีล้วงกระเป๋าชุกชุมที่สุด (มติชนออนไลน์) คู่รักจำนวนมากอาจจะคุ้นเคยกับคำกล่าวที่ว่า "ที่ใดมีรัก ที่นั่นมีทุกข์" เป็นอย่างดี แต่สำหรับนักท่องเที่ยวที่เดินทางไปทั่วโลกแล้ว พวกเขาย่อมรู้ซึ้งถึงสัจธรรมที่ว่า "ที่ใดมีนักท่องเที่ยว ที่นั่นมีนักล้วงกระเป๋า" เช่นกัน เว็บไซต์ท่องเที่ยวชื่อดังของต่างประเทศ ได้จัดอันดับสถานที่ท่องเที่ยวซึ่งขึ้นชื่อลือชาเรื่องการเกิดคดีล้วงกระเป๋านักท่องเที่ยวมากที่สุด จำนวน 10 แห่ง โดยส่วนใหญ่เป็นเมืองในทวีปยุโรป ได้แก่...


1. ย่านลาส แรมบลาส เมืองบาร์เซโลนา ประเทศสเปน ถนนคนเดินที่มีชีวิตชีวา ซึ่งเต็มไปด้วยเสียงเพลงและผู้คนอยู่ตลอดวันตลอดคืนแห่งนี้ ถือเป็นสวรรค์สำหรับบรรดานักล้วงกระเป๋าตัวยง


2. กรุงโรม ประเทศอิตาลี แม้โบราณสถานจำนวนมากของนครหลวงแห่งอิตาลี จะถือเป็นแหล่งดึงดูดนักท่องเที่ยวจำนวนมากที่มีความสนใจทางด้าน ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม ทว่ามันก็เป็นแหล่งดึงดูดเหล่านักล้วงกระเป๋า ผู้เชี่ยวชาญช่ำชองในการใช้กรรไกรตัดกระเป๋าและลักทรัพย์ของนักท่องเที่ยว นานาชาติเช่นกัน


3. กรุงปราก สาธารณรัฐเช็ค "สะพานชาร์ลส์" ของนครหลวงแห่งสาธารณรัฐเช็ค ถือเป็นสถานที่ท่องเที่ยวอันงดงาม เนื่องมาจากอนุสาวรีย์สไตล์บาโร้คซึ่งตั้งเรียงรายอยู่กว่า 30 แห่ง นอกจากนี้ทำเลที่ตั้งของสะพานก็ทำให้นักท่องเที่ยวสามารถมองเห็นทัศนียภาพ ของแม่น้ำกว้างและปราสาทโบราณได้อย่างถนัดตา ทว่านักท่องเที่ยวทั้งหลายก็ต้องระมัดระวังเช่นกันว่าทรัพย์สินมีค่าส่วน ตัวยังคงอยู่กับตนเองภายหลังเดินลงมาจากสะพานดังกล่าว


4. กรุงมาดริด ประเทศสเปน ตลาดขายสินค้ามือสองชื่อดัง "เอล ราสโตร" และสถานีรถไฟใต้ดิน ถือเป็นแหล่งหากินของนักล้วงกระเป๋ามือฉมัง เช่นเดียวกันกับพิพิธภัณฑ์จำนวนมากในเมืองหลวงของสเปน


5. กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส นครหลวงแห่งแสงสี ซึ่งนักท่องเที่ยวอันล้นหลามสามารถถูกล้วงกระเป๋าได้ตั้งแต่ย่าน "หอไอฟ์เฟล" ไปจนถึง "โบสถ์ซาเคร เกอร์" รวมทั้งตามสถานีรถไฟใต้ดินต่าง ๆ


6. เมืองฟลอเรนซ์ ประเทศอิตาลี นักท่องเที่ยวนานาชาติไม่ควรตื่นตาตื่นใจกับงานศิลปะขึ้นชื่อฝีมือ "มิเคลันเจโล" รวมทั้งงานศิลปะและโบราณวัตถุล้ำค่าชิ้นอื่น ๆ ในนครหลวงของวงการศิลปะแห่งนี้ จนกระทั่งลืมเลือนที่จะระวังตัวจากบรรดานักล้วงกระเป๋าเชื้อสายอิตาเลียน


7. กรุงบัวเอโนส ไอเรส ประเทศอาร์เจนตินา เมืองที่มีชีวิตชีวาและสีสันทางวัฒนธรรมมากที่สุดแห่งหนึ่งจากทวีปอเมริกาใต้ อย่างไรก็ตาม นักท่องเที่ยวทั้งหลายก็ควรระวังตัวยามร่างกายของคุณแปดเปื้อนกับของเหลว บางชนิดที่คล้ายคลึงกับมัสตาร์ด แล้วมีผู้คนใจดีพยายามมาช่วยเช็ดรอยเปื้อนดังกล่าว เพราะทรัพย์สินส่วนตัวของคุณอาจปลาสนาการไปได้โดยไม่ทันรู้ตัว


8. กรุงอัมสเตอร์ดัม ประเทศเนเธอร์แลนด์ นอกจากแม่น้ำลำคลองอันโด่งดังและผู้คนที่มีอัธยาศัยเป็นมิตรแล้ว เมืองหลวงของฮอลแลนด์ก็ยังมีนักล้วงกระเป๋าที่ขึ้นชื่ออีกด้วย


9. กรุงเอเธนส์ ประเทศกรีซ เมื่อเดินทางไปเที่ยวชมโบราณสถานยุคกรีกจำนวนมากมายในดินแดนต้นกำเนิดกีฬา โอลิมปิก นักท่องเที่ยวควรเก็บรักษาของมีค่าไว้กับตัวเองอยู่ตลอดเวลา


10. กรุงฮานอย ประเทศเวียดนาม เมืองหลวงของประเทศเพื่อนบ้าน ซึ่งเต็มไปด้วยสถาปัตยกรรมยุคอาณานิคมแบบฝรั่งเศส รวมทั้งวัดและเจดีย์โบราณทางพุทธศาสนาอีกกว่า 600 แห่ง ถือเป็นสถานที่ท่องเที่ยวอันงดงามและมีเอกลักษณ์เฉพาะตัวอีกแห่งหนึ่ง สำหรับนักท่องเที่ยวนานาชาติ อย่างไรก็ตาม พวกเขาก็ต้องระมัดระวังตัวจากการถูกล้วงกระเป๋าอยู่ตลอดเวลาเช่นกัน

วันอังคารที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2552

Croisades

Les croisades du Moyen Âge sont des pèlerinages armés prêchés par le pape.
La vision traditionnelle identifie l'époque des croisades à la période 1095-1291, du concile de Clermont à la prise de Saint-Jean-d'Acre, et se limite aux expéditions qui ont eu la Terre Sainte pour objectif et l'Orient pour théâtre d'opérations. Dans la définition large, toutes les guerres contre les Infidèles et les hérétiques, sanctionnées par le Pape qui y attache des récompenses spirituelles et des indulgences, sont des croisades. La Reconquista, croisade de la péninsule ibérique, en fait ainsi partie. Les dates sont alors beaucoup plus larges et mènent jusqu'à la bataille de Lépante (1571) dans la seconde moitié du XVIe siècle. C'est la définition dite traditionnelle qui est retenue pour cet article.
La première croisade débute en 1095 et contre toute attente et toute prévision, elle se marque par une forte participation populaire, c’est-à-dire constituée de milliers de pèlerins piétons. Elle est aussi l'occasion pour le pape d'occuper la noblesse dans sa lutte de pouvoir avec elle. Elle aboutit à la fondation d'États latins (ou francs) en Orient. La défense de ces États est à l'origine de l'organisation des sept autres croisades principales ; de 1095 à 1291 (date de la perte des dernières positions latines en Orient), de nombreux groupes de soldats et de pèlerins ont participé à l'aventure des croisades.
À partir de la quatrième croisade qui aboutit à la prise de Constantinople en 1204, l'idée de croisade est dévoyée, et des expéditions sont organisées par le pape contre ses opposants chrétiens (Albigeois, Hohenstaufen, Aragon, Hussites ...) ou païens (baltes). Si elles permettent le maintien des États latins d'Orient, elles n'ont plus pour objectif Jérusalem et sont l'occasion pour la papauté de lever des impôts sur le clergé. De fait, seules l'Église catholique et les cités marchandes italiennes ont bénéficié des croisades.

Le terme de croisade

Le terme de « croisade » est tardif. Il n'apparaît pas avant le milieu du XIIe siècle en Occident et seulement vers 1250 dans le monde arabe. Les textes médiévaux parlent le plus souvent de voyage à Jérusalem « iter hierosolymitanum » pour désigner les croisades, ou encore de peregrinatio, « pèlerinage ». Plus tard sont aussi employés les termes de auxilium terre sancte, « aide à la terre sainte », expeditio, transitio, « passage général » (armées nationales) et « passage particulier » (expéditions ponctuelles, particulières)[1].
Le terme de croisade n'apparaît que tardivement en français : Le Trésor de la langue française informatisé (TLFi) fait remonter l'expression « soi cruisier » (se croiser) à la Vie de St Thomas le martyr de Guernes de Pont-Sainte-Maxence datée de 1174, et le terme de « croisade » aux Chroniques de Chastellain datées d'avant 1475, notant qu'il s'agit d'un substitut de termes proches tels que « croisement », « croiserie » ou « croisière » qui sont plus anciens, sans qu'on puisse les signaler avant la fin du XIIe siècle ; le Dictionnaire historique de la langue française note une première apparition du mot vers 1460 et note également qu'il dérive de « croisement », que l'on rencontre avant la fin du XIIe siècle.
Pourtant, l'ancien français « croiserie » apparaît dans la chronique de Robert de Clari durant la quatrième croisade (1204), tandis que l'on trouve l'espagnol cruzada dans une charte en Navarre de 1212. En réalité, tous ces termes sont des substantifs de l'adjectif crucesignatus, croisé (littéralement, marqué par la croix) qui, lui, apparaît dans la chronique d'Albert d'Aix (sans doute écrite, pour sa première partie, dès 1106) ou du verbe crucesignare, prendre la croix, qui est fréquent au XIIe siècle.
Il est donc clair que ce que nous appelons « première croisade » n'était pas appelée ainsi par ses contemporains. Du point de vue musulman, les croisades ne sont d'ailleurs pas perçues comme une nouveauté, mais comme la continuation de la lutte contre l'Empire romain d'Orient, qui durait depuis plusieurs siècles. Pourtant, il est aussi évident que les contemporains ont eu très tôt conscience que la croisade n'était pas un simple pèlerinage armé ni une opération militaire comme les autres mais bien une réalité différente, alliant les caractéristiques du pèlerinage à Jérusalem aux impératifs d'une guerre pour la défense de la foi.

วันอาทิตย์ที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2552

เ พื่ อ น แ ท้


เพื่อนทั่วไปไม่เคยเห็นคุณร้องไห้ เพื่อนแท้มีหัวไหล่ไว้คอยซับน้ำตาคุณ
เพื่อนทั่วไปจะไม่รู้ชื่อพ่อแม่ของคุณ เพื่อนแท้จะมีเบอร์ของท่านไว้ในสมุดจดโทรศัพท์ของเขา
เพื่อนทั่วไปจะถือขวดไวน์ติดมือมางานปาร์ตี้ของคุณ เพื่อนแท้จะมาแต่วันเพื่อช่วยเตรียมงาน
เพื่อนทั่วไปอยากคุยกับคุณถึงปัญหาของเขา เพื่อนแท้อยากช่วยปัดเป่าปัญหาของคุณออกไป
เพื่อนทั่วไปจะพิศวงในเรื่องโรแมนติกเก่าๆ เพื่อนแท้สามารถเอาเรื่องนี้มาอำคุณได้
เพื่อนทั่วไปเวลามาเยี่ยมคุณจะทำตัวเยี่ยงแขก เพื่อนแท้จะตรงรี่ไปเปิดตู้เย็นและบริการตนเอง
เพื่อนทั่วไปคิดว่ามิตรภาพจบลงเมื่อเกิดการทะเลาะถกเถียง เพื่อนแท้รู้ดีว่านั่นจะมิใช่มิตรภาพ จนกว่าคุณได้เคยวิวาทกัน
เพื่อนทั่วไปคาดหวังให้คุณอยู่เคียงข้างเขาเสมอ เพื่อนแท้คาดหวังที่จะอยู่เคียงคุณตลอดไป
เพื่อนทั่วไปจะอ่านข้อความนี้แล้วโยนลงถังขยะ เพื่อนแท้จะเฝ้าส่งต่อๆไป จนกว่าจะมั่นใจว่ามันได้ถึงมือผู้รับ ส่งผ่านให้ใครก็ได้ที่คุณห่วงใย หากคุณได้รับมันกลับมา นั่นหมายว่าคุณได้พบเพื่อนแท้แล้ว

การเตรียมตัวก่อนสอบ


การสอบ Entrance เป็นกิจกรรมที่น้อง ๆ ม.ปลาย ต้องเตรียมตัวให้พร้อมอยู่ตลอดเวลาโดยเฉพาะอย่างยิ่ง น้องที่กำลังศึกษาอยู่ ม.6 ที่ต้องเก็บตัวเงียบเพื่อหาความรู้เพิ่มเติมให้มากในการนำไปสอบแข่งขัน เพื่อให้มีโอกาสเข้าเรียนในระดับมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงต่อไป หากน้อง ๆ มีทักษะในการทำข้อสอบมากพอ ก็จะทำให้เกิดความมั่นใจและประสบความสำเร็จได้ ในการที่จะทำข้อสอบให้ได้ผลเป็นที่น่าพอใจนั้น ต้องมีการวางแผนการศึกษาตั้งแต่เนิ่น ๆ ควรให้เวลากับการศึกษาอย่างถูกต้องและสม่ำเสมอ ซึ่งการสอบ Entrance ที่ผ่านมา น้อง ๆ แต่ละคนอาจจะมีเคล็ดลับการสอบที่แตกต่างกันแล้วแต่ว่าใครจะงัดอะไรออกมาสู้กัน (ด้วยความสุจริต) ซึ่งได้แก่ ทางไสยศาสตร์ การบนบานศาลกล่าว เพื่อเสริมสร้างกำลังใจ หรือ การมีเคล็ดลับการเดาข้อสอบต่าง ๆ ซึ่งก็แล้วแต่ความสะดวกของน้องๆ แต่ละคน ซึ่งฉบับนี้ได้นำเคล็ดลับง่าย ๆ สำหรับการสอบ Entrance มาฝากน้อง ๆ เพื่อให้การสอบเป็นไปอย่างราบรื่น
1. การเตรียมความพร้อมก่อนวันสอบ น้อง ๆ ต้องให้ความสำคัญกับตารางสอบให้มาก ๆ เพราะตารางสอบจะบ่งบอกถึง วัน เวลา วิชาที่สอบ และสถานที่สอบ ให้กับน้อง ๆ ตลอดจนการสำรวจสถานที่สอบก่อนไปสอบจริงด้วย เพราะหากน้อง ๆ ดูไม่ละเอียดถี่ถ้วนแล้ว นั่นหมายถึงว่าน้องได้ตัดโอกาสของตนเองด้วย ส่วนเรื่องอุปกรณ์ที่ใช้ในการสอบ เช่น ดินสอ 2B หรือมากกว่านั้น เอกสารต่าง ๆ ที่ใช้เป็นหลักฐานในการยืนยันว่าน้องเป็นคนสมัครและเป็นคนมาสอบด้วยตนเองให้พร้อม (ไม่ควรมาหาเอาตอนจะไปสอบจะไม่ทันกาล) ความพร้อมของน้อง ๆ เอง โดยก่อนออกจากบ้านไปยังสถานที่สอบ น้อง ๆ ให้ความสำคัญกับการแต่งกายหรือยัง การแต่งกายต้องสุภาพเรียบร้อย (ชุดนักเรียน) ถูกต้องตามระเบียบการแต่งกายของนักเรียนระดับ ม. ปลายหรือยัง ถ้ายังสำรวจตัวเองก่อนที่คณะกรรมการผู้คุมสอบจะไม่อนุญาตให้เข้าห้องสอบนะคะ แล้วอย่าลืมอุปกรณ์และเอกสารที่เตรียมไว้นะ จะได้ไม่เสียเวลาและไม่ทำให้น้องหงุดหงิดได้ค่ะ อย่าลืมว่าต้องไปทักทายเพื่อน ๆ ก่อนเข้าห้องสอบประมาณครึ่งชั่วโมงด้วยนะ เพื่อลดความวิตกกังวลและรู้สึกผ่อนคลาย จะได้รู้สึกดีและมั่นใจในการสอบ
2.เมื่อเข้าห้องสอบนั่งนิ่ง ๆ ทำใจให้สบาย ฟังคำชี้แจงจากคณะกรรมการคุมสอบให้ละเอียด ไม่เข้าใจให้สอบถามทันที เขียนชื่อ - สกุล รหัส ในกระดาษคำตอบให้เรียบร้อยเสียก่อน เพราะถ้าลืม ต่อให้เก่งสักเท่าไร บวก ไสยศาสตร์ก็ช่วยอะไรน้อง ๆ ไม่ได้นะคะ
3.รวบรวมสติให้มั่น อ่านคำชี้แจงให้ชัดเจน และให้เข้าใจ พร้อมทั้งสำรวจว่าข้อสอบที่ได้มีจำนวนข้อ และจำนวนหน้าตรงตามคำชี้แจงที่ข้อสอบได้ระบุไว้หรือไม่ ถ้ามีปัญหาอะไรให้รีบแจ้งคณะกรรมการคุมสอบโดยเร็ว
4.น้องต้องวางแผนการใช้เวลาในการสอบทั้งหมด โดยคาดการณ์ว่าจะใช้เวลาในการทำข้อสอบข้อละกี่นาที จึงจะเสร็จ น้อง ๆ ควรควบคุมและใช้เวลาในการทำข้อสอบตามแผนที่วางไว้ เพราะเมื่อพบข้อที่ยาก อาจจะทำให้ทั้งเวลาและความรู้สึกของน้องเสียไปได้
5.ให้น้อง ๆ รีบจดสาระสำคัญ เช่น สูตร หรือข้อความที่ต้องใข้ในวิชานั้น ๆ ลงในกระดาษคำถามก่อนที่ความตื่นเต้นจะทำให้ลืมไปเสียก่อน (แล้วอย่าเผลอไปจดใส่กระดาษอื่น ๆ ล่ะ เดี๋ยวเจอข้อหาทุจริตได้ จะหาว่าไม่เตือน)ให้น้อง ๆ เลือกทำข้อสอบในส่วนของข้อที่ง่ายก่อน แล้วค่อยทำข้อสอบในส่วนที่ยากต่อไป เพื่อให้เกิดความรู้สึกที่ดีต่อตนเอง ในสถานการณ์ที่พบข้อที่ยากให้ทำเครื่องหมายและข้ามไปทำข้อถัดไปก่อนแล้วจึงย้อนกลับมาทำใหม่ ให้น้อง ๆ ระวังข้อคำถามหรือต้องเลือกที่มีคำที่เป็นปฏิเสธ หรือปฏิเสธซ้อนปฏิเสธให้ใช้ความละเอียดรอบคอบในการพิจารณาความหมายที่ถูกต้อง เพราะจะทำให้เสียคะแนนได้
6.น้องควรใช้ความรู้ในการทำข้อสอบและไม่ต้องสนใจกับรูปแบบของข้อที่ตอบให้มากนัก เช่น ตอบข้อ ก แล้ว ข้อถัดไปไม่ควรจะเป็นข้อ ก อีก เป็นต้น ให้น้องคำนึงถึงตัวเนื้อหาที่เป็นคำตอบที่ถูกต้องดีกว่า เพราะถ้าน้องยึดติดกับตัวรูปแบบของการตอบแล้ว อาจทำให้พลาดจากคะแนนที่ต้องการได้ค่ะ
7.การตอบปกติแล้วคำตอบที่คิดไว้เป็นครั้งแรกมักจะเป็นคำตอบที่ถูก แต่ถ้าหากจะเปลี่ยนคำตอบ ควรเปลี่ยนเมื่อแน่ใจจริง ๆ ว่าที่ตอบมาแล้วตอบผิด แต่หากไม่แน่ใจให้น้องคงคำตอบเดิมไว้นะคะ ความรู้ไม่เข้าใครออกใคร ความคิดของน้องครั้งแรกจะเป็นจะเป็นตัวช่วยเพิ่มคะแนนให้น้อง ๆ ได้คะ ถ้าเวลาในการทำข้อสอบเหลือพอที่จะทบทวนให้น้องย้อนกลับไปทบทวนเฉพาะข้อที่ยากและไม่เข้าใจ เพื่อให้ได้คำตอบที่ถูกต้อง และถ้าข้อสอบที่มีตัวเลือกเหลือให้ต้องเดาต้องเดาอย่างมีหลักการของความถูกต้องนะคะ เพราะไม่งั้นคะแนนอาจติดลบได้ค่ะ แต่บางคนมีเคล็ดลับการเดาที่ดี คือ การมีพื้นฐาน ความรู้และประสบการณ์ ก็อาจทำแต้มขึ้นมาได้ค่ะ
8.แนวโน้มเนื้อหาในการสอบ Entrance และคะแนนของข้อสอบแต่ละวิชา จะมีน้ำหนักที่ต่างกันออกไป ค่าของคะแนนจะขึ้นอยู่กับความยากง่ายของเนื้อหาที่ออกเป็นส่วนใหญ่ ข้อสอบที่นิยมนำมาทดสอบน้อง ๆ จะมีอยู่ด้วยกัน 2 แบบ คือ ข้อสอบแบบ ปรนัย และ ข้อสอบแบบอัตนัย ซึ่งน้อง ๆ บางคนอาจจะสับสนกับ คำว่า "ปรนัย" และ "อัตนัย" อยู่บ้าง "ปรนัย" คือ ข้อสอบที่มีคำถาม พร้อมตัวเลือกให้เลือกตอบ จำนวน 4 ตัวเลือก (ระดับมัธยมศึกษา) และ "อัตนัย" คือ ข้อสอบที่มีคำถาม เพียงอย่างเดียว แล้วให้น้องหาคำตอบจากการแสดงวิธีทำ เพื่อให้ได้คำตอบที่ต้องการ ซึ่งโดยทั่ว ๆ ไปเนื้อหาของข้อสอบที่ใช้ จะวัดพฤติกรรมการเรียนรู้ ของผู้เรียนมากกว่า โดยใช้หลักการของนักจิตวิทยาการศึกษา ชื่อว่า Benjamin S. Bloom (น้อง ๆ คงจะคุ้นเคยกับชื่อนี้มาบ้างแล้ว) ซึ่ง Bloom เองได้กำหนด พฤติกรรมการเรียนรู้ ไว้ดังนี้10.1 ความรู้ ความจำ หมายถึง การวัดความสามารถในการระลึกได้ถึงประสบการณ์ที่เคยศึกษา ความจำอาจเป็นการถามความเกี่ยวกับศัพท์ และนิยามกฎเกณฑ์ วิธีการ เป็นต้นโดยคำถามมักจะใช้คำว่า อะไร ที่ไหน อย่างไร 10.2 ความเข้าใจ หมายถึง การวัดความสามารถในการแปลความ ตีความ และขยายความ 10.3 การนำไปใช้ หมายถึง การนำหลักวิชาไปใช้ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ใหม่10.4 การวิเคราะห์ หมายถึง ความสามารถในการแยกแยะส่วนต่าง ๆของเหตุการณ์หรือเรื่องราวว่าเป็นอย่างไร การวิเคราะห์ถึงความสำคัญ ความสัมพันธ์หรือหลักการเป็นต้น10.5 การสังเคราะห์ หมายถึง ความสามารถในการรวบรวมสิ่งที่ศึกษาเข้าด้วยกันเป็นสิ่งใหม่ หรือรูปแบบใหม่ อาจเป็นการสังเคราะห์ข้อความ การวางแผนงานล่วงหน้าหรือความสัมพันธ์ เป็นต้น10.6 การประเมินค่า หมายถึงความสามารถในการพิจารณาตัดสินเกี่ยวกับข้อมูลที่ได้ศึกษามาทั้งหมดว่าตัดสินได้ว่าอย่างไร โดยข้อสอบที่ นำมาทดสอบน้องในการสอบ Entrance แต่ละปีนั้น ก็มักจะนำพฤติกรรมการเรียนรู้ที่กล่าวมาแล้วข้างต้นมาเป็นตัวทดสอบความรู้ของน้อง ๆ เอง โดยที่น้องต้องรู้ว่าพฤติกรรมการเรียนรู้ที่ทางผู้ออกข้อสอบนำมาใช้นั้น เป็นแนวใด และมีลักษณะเช่นไรแล้ว จะทำให้น้อง ๆ มีแนวทางใน การเตรียมตัวอ่านหนังสือและเตรียมตัวสอบ Entrance ต่อไป
11. น้องๆ อย่าลืมตรวจสอบกระดาษคำตอบว่าได้ตอบทุกข้อคำถามและเลือกตอบเพียง 1 ตัวเลือกเท่านั้นก่อนส่งให้กรรมการคุมสอบด้วยนะคะ
12. น้อง ๆ บางคน อาจจะเห็นความสำคัญของเนื้อหาในเรื่องนี้เป็นแค่เรื่องธรรมดา แต่อย่าประมาทนะคะ เพราะ
หลังสอบเสร็จแล้วให้น้อง ๆ กลับไปทบทวนในข้อที่ยากหรือข้อที่ไม่แน่ใจทันที เพื่อเป็นการเรียนรู้จากข้อมูลที่ถูกต้องชัดเจนอีกครั้ง สำหรับในการสอบครั้งต่อไปความประมาททำให้พลาดโอกาสมานักต่อนักแล้ว เตรียมตัวกันไว้แต่เนิ่น ๆ จะทำให้ไปเดินโก้ในมหาวิทยาลัยได้ค่ะ"ความสำเร็จในทางการศึกษา มิได้มาเพราะโชคช่วย หรือด้วยคำพร่ำภาวนา แต่มาจากการไขว่คว้า พยายาม เอาจริงเอาจังและมีวินัย"

วันพุธที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2552

Stonehenge


Stonehenge




Stonehenge, dont le nom signifie « les pierres suspendues », est un grand monument mégalithique composé d'un ensemble de structures circulaires concentriques, érigé entre -2800 et -1100[1], du Néolithique à l'âge du bronze. Il est situé à 13 km au nord de Salisbury, et à 4 km à l'ouest d'Amesbury (comté du Wiltshire, Angleterre).
L'ensemble du site de Stonehenge et le cromlech d'Avebury, à une trentaine de kilomètres au nord, sont inscrits sur la liste du patrimoine mondial de l'Unesco.
Sommaire[masquer]
1 Histoire et description
1.1 Chronologie, datation
1.2 Stonehenge I : Néolithique, vers -2800/-2100
1.2.1 L'enceinte circulaire
1.2.1.1 Le fossé (ditch)
1.2.1.2 Le talus (bank)
1.2.1.3 L'« archer de Stonehenge » (Stonehenge Archer(en))
1.2.2 Les « trous d'Aubrey »
1.2.3 Un enclos funéraire
1.2.4 La Heel Stone (« pierre-talon »)
1.2.5 Première structure en bois
1.2.6 Les Station Stones (« pierres de position »)
1.3 Stonehenge II : Chalcolithique, vers -2100/-2000
1.3.1 L'« Avenue »
1.3.2 Le double cercle de « pierres bleues » : cavités Q et R
1.4 Stonehenge III : âge du bronze, vers -2000 / -1100
1.4.1 Stonehenge III a
1.4.1.1 Démantèlement du double cercle de pierres bleues
1.4.1.2 Extraction et transport des blocs de sarsen
1.4.1.3 Les trilithes
1.4.1.4 Le grand cercle de sarsen
1.4.1.5 La Slaughter Stone (« pierre des sacrifices »)
1.4.2 Stonehenge III b
1.4.2.1 Nouveau cercle de pierres bleues
1.4.2.2 Les trous Y et Z
1.4.2.3 L'Altar stone (« pierre d'autel »)
1.4.3 Stonehenge III c
1.4.3.1 Les pierres bleues réorganisées en un dernier cercle
1.4.3.2 L'ovale des pierres bleues, finalement réduit en fer à cheval
1.4.4 Dernière étape
1.4.5 Abandon du site
2 Études et fouilles archéologiques
2.1 Campagne de fouilles de 2008
3 Archéoastronomie, construction, symbolique, œuvres dérivées
3.1 Galerie à 360°
4 Notes et références
5 Voir aussi
6 Bibliographie
7 Liens externes
//

Histoire et description [modifier]

Chronologie, datation [modifier]
La datation et la compréhension des différentes phases de l'activité de Stonehenge n'est pas une tâche aisée. Des générations d'archéologues se sont succédé sur le site depuis le début du XXe siècle : le professeur Gowland conduisit les premières fouilles scientifiques à partir de 1901 ; puis le colonel William Hawley entreprit des restaurations à partir de 1919, avant d'étudier la plupart des cavités existantes, jusqu'en 1926[2].
La chronologie retenue dans cet article est celle, classique, de l'archéologue Richard J. C. Atkinson[3], qui a dirigé les dernières fouilles de grande ampleur, à partir de 1950 et durant une trentaine d'années, avec une importante campagne de restaurations, entre 1958 et 1964. On lui doit la division en trois phases I, II et III, aujourd'hui acceptées de tous. Mais les subdivisions, et même parfois la chronologie tout entière, diffèrent notablement d'un auteur moderne à l'autre.

Stonehenge I : Néolithique, vers -2800/-2100 [modifier]
Stonehenge I (-2800/-2100). Enceinte extérieure circulaire (fossé et talus), trous d'Aubrey (datation radiocarbone sur bois de cervidé au bas du fossé : -2810 ± 120) ; Heel Stone, pierres D et E, structure en bois A ; crémations (datation sur charbon de bois, trou d'Aubrey 32 : -2305 ± 280) ; Station Stones peut-être à la fin de cette période[1].

L'enceinte circulaire [modifier]
Le premier monument (Henge Monument) date du Néolithique secondaire (ou final)[4]. Il n'était constitué que d'une enceinte circulaire délimitée par une levée de terre (bank) (8) et un petit fossé (ditch) (7) à l'extérieur, creusé dans le calcaire crétacé du Santonien, mesurant environ 110 m de diamètre, avec une entrée principale orientée vers le nord-est, et une entrée plus petite vers le sud (14). L'ensemble fut mis en place sur une surface légèrement en pente, qui ne présente apparemment aucun caractère exceptionnel par rapport au paysage environnant.



วันศุกร์ที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2552

Saumur

Le Château de Saumur, façade sudEnluminure de Septembre dans Les Très Riches Heures du duc de Berry

Géologie
Le département du Maine-et-Loire, terre de tuffeau et de falun, possède dans la région de Saumur près de 1 200 kilomètres de galeries souterraines et troglodytes ainsi que de 14 000 cavités dont la moitié sont à l'abandon. De nombreuses galeries sont utilisées par les entreprises angevines de vins pétillants de Saumur et par les champignonnières produisant les fameux "champignons de Paris".
La Révolution
Après que l'Assemblée Constituante eut décidé la création des départements, des réunions se tiennent aussitôt dans l'hôtel du duc Antoine-César de Choiseul-Praslin, député de la noblesse de la Sénéchaussée d'Angers. Une trentaine de députés (des trois provinces) présents envisagent de rétrocéder des territoires au Poitou et de subdiviser le domaine restant en quatre départements, d'environ 324 lieues carrées, soit 6 561 km² actuel, autour des capitales traditionnelles, Tours, Angers et le Mans, et autour de la ville de Laval, qui récupérerait des terres du Maine et de l'Anjou.
Le 12 novembre
1789, 25 députés (des trois provinces) approuvent ce partage, mais les deux représentants de Saumur, Jean-Etienne de Cigongne pour le tiers état et Charles-Élie de Ferrières pour la Noblesse, se dissocient de cette décision. Les Saumurois plaident en faveur d'un département de Saumur situé au carrefour des trois provinces de l'Anjou, de la Touraine et du Poitou, avec Loudun pour le partage des pouvoirs. Jean-Etienne de Cigongne et Charles-Elie de Ferrières accusent les représentants d'Angers de s'entendre avec leurs collègues du Maine et de Touraine pour le dépeçage de la sénéchaussée de Saumur. Ils les accusent également d'abandonner à la Touraine 24 paroisses anciennement angevines (autour de Château-la-Vallière et de Bourgueil). Le mécontentement grandit, la population de Bourgueil manifeste pour son maintien dans l'Anjou et se solidarise avec Saumur. Pendant ce temps, les représentants de Chinon, à l'instar de ceux de Saumur tentent également de créer leur propre département. Des dissensions apparaissent au sein du conseil municipal de Saumur. Certains représentants de la Noblesse et du Clergé approuvent le découpage proposé par Angers. En décembre de la même année, les Loudunais rompent leur accord avec Saumur.
Le 14 janvier
1790, l'Assemblée nationale décrète que "Saumur et le Saumurois feront partie du département de l'Anjou".
Intégré dans le département de "Mayenne-et-Loire" (futur "Maine-et-Loire"), Saumur tente de partager avec Angers la fonction de chef-lieu. Ayant perdu la partie, les représentants de Saumur proclament que l'alternat entre Angers et Saumur permet de déjouer les intrigues et les cabales qui naissent de la fixité… Le lundi 24 mai
1790, ils obtiennent 104 suffrages en faveur de l'alternat, mais 532 voix se prononcent en faveur d'un siège permanent à Angers. Le nouveau département est constitué. L'Assemblée constituante entérine cette structure le 22 juin 1790 et le Roi le 25 juin 1790.
Afin de calmer la susceptibilité des Saumurois, les 36 membres du nouveau conseil du département portent à leur présidence
Gilles Blondé de Bagneux (ancien maire de Saumur). Ainsi jusqu'en novembre 1791, le premier président du conseil général de Maine-et-Loire, sera saumurois. Cigongne est désigné président du tribunal de commerce de Saumur.

Reims


Reims - Vue de la façade de la basilique Saint-Remi.

Reims (orthographe désuète : Rheims) dite « la cité des sacres » ou appelée « cité des rois » est une commune française, située dans le département de la Marne et la région Champagne-Ardenne. Ses habitants sont appelés les Rémois (un Rémois, une Rémoise).
Reims est une ville du nord-est de la
France, à 141 km de Paris, dans la Champagne crayeuse. Reims bénéficie d'une position privilégiée au nord-est du bassin parisien notamment parce que la ville se situe entre d'une part Paris et Strasbourg et d'autre part les pays tels que l'Allemagne, la Belgique et le Luxembourg. La ville représente donc une étape agréable pour les touristes.
Avec 188 078 habitants, c'est la douzième ville de France par sa population (mais vingt-neuvième en comptant l'agglomération : 218 375 habitants). Elle est la ville la plus peuplée du département et de la région, bien que n'étant pas le chef-lieu du département ni de la région (cette place revient à
Châlons-en-Champagne). Reims est aussi la deuxième ville (hors agglomération) la plus peuplée du Nord-Est de la France après Strasbourg. Selon le dernier recensement de l'Insee, elle est la sous-préfecture française la plus peuplée intra-muros devant Le Havre (185 427 habitants).
Région de Reims à l'époque pré-romaine (préhistoire)
Les premières traces d'implantation humaine dans la région remontent au néolithique et au chalcolithique (fin du IIIe millénaire avant Jésus-Christ). Des champs d'urnes de l'âge du bronze y ont été retrouvés. La vallée de la Vesle a connu une occupation assez dense pendant l'âge du fer. Il y a cependant très peu de vestiges de ces époques sur le site actuel de Reims.
Vers
80 avant J-C, les Rèmes construisent l'oppidum de Durocorter sur le site qui deviendra Reims.
Rèmes et Rome
En celtique Durocorter, la forteresse ronde, devient Durocortorum et est mentionnée dans les commentaires de Jules César. Strabon cite le nom de Duricortora (Δουρικορτόρα). Voyant l'avancée de l'armée de César, les Belges s'allient pour repousser cette invasion. Les Rèmes refusent cette alliance et choisissent d'aider Rome. L'alliance est votée par le Sénat de Rome. Les Belges sont battus sans grande difficulté. En 53 avant J-C, César ordonne au concilium Galliae de se réunir à Durocortorum pour y juger la conjuration des Sénons et des Carnutes.
Les Rèmes ayant prouvé leur fidélité à
Rome, Durocortorum est classée dans les cités fédérées, considérées comme indépendantes. Sous Auguste (entre 16 et 13 avant J.-C.), les Rèmes sont placés dans la province de Belgique dont Durocortorum devint la capitale. Les nombreux monuments ou autres traces de l'époque romaine montrent que Reims est à l'époque très prospère (de récents travaux archéologiques font même de la ville la deuxième plus vaste de l'Empire après Rome). Sept grandes voies desservent la ville.
Invasions barbares
En
357 et en 366, des invasions germaniques sont repoussées dans la région avant qu'elles n'atteignent Reims. Mais en 406, les Vandales s'emparent de la ville et la pillent. Les Rémois sont réfugiés alors dans l'église chrétienne et l'évêque saint Nicaise est décapité sur le seuil de sa cathédrale. Et en 451, ce sont les Huns qui attaquent la ville.